วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2552


Ways to integrate Web 2.0 into teaching and learning appropriately



Lecturing Process
We can use "Blog" to transfer the contents to our learners and then they could discuss and expand what they have learned. They can ask for more information and it could be a tool for us to lead the learners to the next lesson systematically and effectively.


Individual Assignment


Text and Photos Assignment
We can assign our learners to use "Blog" which they register for their own accounts and develop their works. We may assist them with some suggestions as a comment. The learners are allowed to use any add on in their blogs to encourage them to create their works.































Audio Assignment

We may use any Podcast service website, (For example = http://www.chokelive.com/), to assign our learners to use their voice recorders such as MP3 player, iPod 0r their mobile phones to record their voice related to the assignment instruction and upload to broadcast. They may add the URL in their own blog again later.


Video Assignment
We can assign our learners to create a Slide Show video or some kinds of movies to present their works, projects or field trips related to the assignment instruction and then upload on to video service site such as You Tube, Google Video or Mthai.



Group Work Assignment
We can use "Wiki" as a tool for our learners to cooperate and collaborate to complete their assignment using the main and additional contents prepared by us. Then add them onto the Wiki system. We may assist them via our Blogs.










Asynchronous Discussion
We may still use "Webboard" with "Login" feature so we can keep tracing our learners and their group works. Moreover, we can support them by adding some more information required to improve their works or avoid some mistakes that may affect their works.











Synchronous Discussion

Text Chat We can add CBOX onto our Blogs and arrange date and time for them to be online to do the discussion. This activity can be done in order to motivate them to work as a team for your assessment. The message in CBOX could be read later.
























Audio Chat
We can use "Yackpack" which is an "Audio Conferencing System" that supports us effectively and stably. It is easy to use because what we need to do is just registering and creating a room or channel for chatting. The learners need only to Login to chat. All the chat session could be recorded and played back later.



Web Conferencing Presentation

We can use "DimDim" which supports us the wen conferencing presentation by allowing a software called "Screen Cast" that will broadcast the presenter's screen to all the client's. It supports various kinds of presenting file formats. There is a whiteboard and allow using websites for presentation as well.้ Web Cam is also allowed for this section. The presenter can speak out to present his or her work in Real time system. There is no need for client to download any file. This free conferencing systerm allows 20 participants a time. (Need paying for more, we may arrange 20 participants per a section)

These could be good ways to integrate Web 2.0 into teaching and learning appropriately. Nevertheless, teacher need to stay alert to facilitate the learners all kind of supports to eliminate any obstructions appropriately and effectively.





แนวทางในการนำ นวัตกรรม Web 2.0 มาใช้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสม




รูบแบบการสอนแบบนำเสนอบรรยาย

สามารถนำ Blog นำเสนอเนื้อหาซึ่งผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนความเห็นได้ซึ่งอาจเป็นการสอบถาม ขยายความ หรือนำไปสู่กระบวนการนำสู่เนื้อหาต่อไปอย่างเป็นระบบได้

รูปแบบกิจกรรมนำเสนอรายบุุคคล (Individual Assignment)


การเสนอในรูปแบบของภาพและข้อความ (Text and Photos Assignment)
สามารถเลือกใช้ Blog ที่ให้ผู้เรียนลงทะเบียนใช้รายบุคคล และพัฒนาเนื้อหาตามคำสั่งงาน โดยอาจารย์เข้ามาแนะนำในรูปแบบของ Comment โดยเปิดกว้างในการให้ผู้เรียนเลือกใช้รูปแบบและ Add on ของ Blog ตามที่ต้องการเพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียนในการทำกิจกรรมนั้น ๆ





























การนำเสนอในรูปแบบของเสียง (Audio Assignment)

สามารถเลือกใช้เว็บไซท์ที่บริการ Podcast (เช่น http://www.chokelive.com/) เพื่อให้ผู้เรียนใช้เครื่องบันทึกเสียงต่าง ๆ เช่น MP3 player, iPod หรือ โทรศัพท์มือถือ บันทึกเสียงการทำงานตามสั่งเพื่อนำเสียงขึ้นระบบเพื่อถ่ายทอด โดยอาจจะนำ URL แสดงใน Blog ของตนอีกครั้ง


การนำเสนอในรูปแบบของภาพยนตร์ (Video Assignment)
สามารถแนะนำผู้เรียนให้จัดทำ Slide Show ที่อยู่ในรูปภาพยนตร์ หรือแม้แต่บันทึกภาพยนตร์นำเสนองาน โครงงานกลุ่ม หรือ ภาพยนตร์ที่ผู้เรียนจัดทำจากการออกทำงานนอกสถานที่นำขึ้นเว็บที่ให้บริการฝากภาพยนตร์ เช่น You Tube, Google Video หรือ Mthai เป็นต้น



รูปแบบการทำกิจกรรมกลุ่ม (Group Work Assignment)

สามารถนำ Wiki มาเป็นเครื่องมือให้ผู้เรียนได้ช่วยเหลือ ร่วมมือในการจัดทำเอกสารจากการศึกษาเอกสารหลักและเอกสารเสริมขึ้นสู่ระบบ Wiki โดยผู้สอนอาจช่วยแนะนำผ่าน Blog














กิจกรรมการอภิปรายกลุ่มแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Discussion)
ยังคงสามารถใช้ Webboad มาใช้โดยเลือกใช้ระบบที่มีการ Login ซึ่งจะช่วยให้ผู้สอนติดต่อความก้าวหน้าของงานกลุ่มได้ โดยสนับสนุนด้านข้อมูลเพิ่มเติมหรือแนะนำในข้อผิดพลาดที่อาจส่งผลกระทบต่องานแก่ผู้เรียนเป็นระยะ













กิจกรรมการอภิปรายกลุ่มแบบประสานเวลา (Synchronous Discussion)

การประสานเวลาแบบอักษร (การพิมพ์ หรือ Text Chat) สามารถนำ CBOX มาใช้ใน Blog และกำหนด
เวลานัดหมายกับผู้เรียน ซึ่งอาจทำโดยวัตถุประสงค์ที่จะเร้าความสนใจในการทำงานเป็นทีมเพื่อการวัดผลซึ่งข้อความในCBOX สามารถย้อนกลับไปอ่านได้ในภายหลัง





การประสานเวลาแบบเสียง (การใช้ไมค์ หรือ Audio Chat) สามารถใช้บริการเว็บ Yackpack ซึ่งเป็นระบบ
Audio Conference ที่สามารถรองรับการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพค่อนข้างสูง สะดวกแก่การใช้งานเพราะผู้สอนทำการลงทะเบียนและสร้างห้องเพื่อการสนทนาและผู้เรียนทำหน้าที่เพียง Login เข้าระบบเท่านั้นและเช่นเดียวกัน ระบบสามารถทำการบันทึกเสียงการสนทนาเพื่อนำกลับมาฟังในภายหลังได้



การนำเสนอแบบประสานเวลา (Web Conferencing Presentation)
สามารถใช้บริการของ DimDim ที่สนับสนุนการประชุมออนไลน์มีระบบ Screen Cast ที่สามารถนำเสนอ
หน้าจอของผู้นำเสนอไปยังหน้าจอของการประชุม ซึ่งสนับสนุนการเปิดไฟล์ต่าง ๆ ของผู้ำนำเสนอ การใช้เครื่องมือกระดานขาว (whiteboard) การเปิดเว็บไซท์ต่าง ๆ ได้ สนับสนุนการเชื่อมต่อกับกล้อง Web Cam และยังคงรองรับการบรรยายเสียงของผู้นำเสนอในระบบ Real Time ได้เป็นอย่างดี โดยผู้เข้าไม่ประชุมไม่จำเป็นต้องDownload ไฟล์ใด ๆ ลงสู่เครื่องเลย โดยบริการฟรีนี้สนับสนุนผู้เข้าประชุมได้ถึง 20 คน (หากต้องการมากกว่านั้นต้องเสียเงินครับ ซึ่งเราอาจแก้ปัญหาโดยการจัดแบ่งกลุ่มเพื่อนำเสนอครั้งละ 20 คน)

และทั้งหมดนี้ น่าจะเป็นแนวทางในการนำ นวัตกรรม Web 2.0 มาใช้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมได้ อย่างไรก็ตาม ผู้สอนต้องมีความพร้อมในการที่จะอำนวยความสะดวกเพื่อลดอุปสรรคที่อาจจะเกิดต่อผู้เรียนได้อย่างทันเวลาและมีประสิทธิภาพเสมอครับ

Welcome all EduBlogger Educators

Welcome all the EduBlogger Educators. Sorry for all of my articles here are in Thai since I've just been introduced to EduBlogger by my teacher. Thus, all my articles in English will be available around these coming two days.

Thank you so much for kindly visiting and hope to have you here again.