วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2552

"Google Docs"

"Google Docs" Online Document bank that is exactly more than a file storage web

It is a file uploading service that could be called an integration of three main technologies, Online File Server, Documents Creator Software and File Management Software ซึ่and became an online file server system that could serve the users professionally in terms of files management, file sharing, and users filter to keep the document confidentially. Moreover, Google Docs supports file storages and supports displaying on the web appropriately.

Text files

html - the file that could be viewed via web browers and viewing onlin in the internet.

txt - text file that the products could be applied to be another kind of file formats variously.

Rtf - text file that allows user to edit the font type, color and size.

odt - text file created by a software called OpenDocument

sxw - text file created by a software called StarOffice

Presenatation File You are allowed to upload up to 10 mb, 2mb from web and 500 kb via e-mail. The supporting extensions are ppt and pps

Spreadsheet You are allowed to upload up to 1 mbซึ่งอนุญาตให้มีขนาด 1 Mb

- csv file which includes table using ASCII and seperate each column using comma. This kind of file can be applied to various different software. Moodle also suppoerts this kind of extention as well.

- xls file that is a spreadsheet created by Microsoft Excel.

- ods file that is created by OpenDocument Spreadsheet

PDF which is a kind of document created with purpose of freezing the original appearance of the document. This kind of file created by Adobe Acrobat software. However, there are a lot of software that are developed for accessing pdf files.

Flexible Although the system states that it support a large range of file types as listed on the web, it still works well when I tried uploading an image file (.jpg) and it activate word processor tools to display the upload image appropriately. However, some other file types can not be upload onto the server and the server will show the message denying uploading.

File Management The system provide a well organize tool that allows us to see all the file appropriately. The order of the file will be listed by modified date. Moreover, the system will classified the file type with the easy recognized icons on the files.

"Sharing" Feature One of dominant features available of the Google Docs, which supports file sharing for other users. The user can classify two types of users, collaborators and viewers. The collaborators are allowed to edit the documents while the viewer is allow to view the document only. This becomes a strength point of the system because the user can choose more if he wants the visitors must be invited or allows the document to be published.

"New" Feature

Beside allowing files uploading, the Google Docs allows user to create file here using its fruitful tools to create all kinds of document which includes text file, spreadsheet and presentation.

"Folder" Feature เYou could manage your files into seperated folder that you can created in your own account so it is sililar to your own notebook PC that travels around the world with you and you can access the file anywhere. The folder system is similar to mail system so it is easy for the user to manage it.

Special Feature "Form" นBeside creating some orinary document files, Google Docs allows you to create questionnaires or tools for your survey which can be created using various useful tools that are ready for you to add and edit.

1.Text which asks the visitor to give short answers.

2. Paragraph Text which ask the visitors to give some speicific information that may vary in different visitors.

3. Multiple Choices which ask the visitors a questions and provides some choices to be chosen.

4. Checkboxes which allows the visitors to choose what that fits them.

5. Choose from a list which also the visitors to choose what fits them.

6. Rating Scale which the visitor could provide the apprpriate score for their own opinion.

The output of this form could be display as the graph or in the spreadsheet that is easy to be used for the further process in the research.

Creating a document using "From Template" feature

Thought the Google Docs system is developed to support searching file and navigating the folder very well, Google Docs shows its great vision by allowing users to create some more and various kinds of document by offering some cool templates. It is easy to pick up and edit to be your own document. It reduces steps of designing and creating teaching tool and the appearance of the products are professional look. It is really nice tools for teachers since there are more than 400 template available there though it is just only Beta version.

From My Point Of View Though this tool is really new and being test in Beta version, Google docs serves and supports all the web 2.0 users very well and seem to number of the users are rising continuously. I believe that Google Docs is going to be a main part of cool tools for borderless communication and ubiquitous information, and become a must tool for all the internet user in the nearly days. Personally, I am possessing a pity experience about Google docs and I always use my created web page and CMS for teaching, I am thinking to use Google doc as a good tool for creating attractive teaching materials for my student to encourage them to read and learn what I want to teach them effectively.


Google Docs คลังเอกสารออนไลน์ที่เป็นมากกว่าเว็บฝากไฟล์

เป็นบริการฝากไฟล์ที่มีการผสมผสานระหว่างสามนวัตกรรม อันได้แก่ Online File Server, Documents Creator Software และ File Management Software ซึ่งทำให้เกิดระบบเก็บไฟล์ออนไลน์ที่มีความสามารถในการบริหารจัดการปรับ แก้ไข แบ่งจ่าย โดยมีระบบการคัดกรองผู้เข้าร่วมใช้ไฟล์อย่างมีระบบและถือว่ามีความปลอดภัยใน ระดับหนึ่ง ซึ่ง Google Docs สนับสนุนการเก็บและแสดงผลไฟล์ได้อย่างหลากหลายชนิด ซึ่งได้แก่

ไฟล์เอกสารต่าง ๆ

html - ไฟล์สำหรับการแสดงผลผ่าน web browser และระบบอินเตอร์เน็ต

txt - รูปแบบเอกสารข้อความที่สามารถนำไปประยุกต์สร้างเอกสารสกุลอื่นได้มากมาย

Rtf - รูปแบบเอกสารข้อความที่มีรูปลักษณ์และสีสันที่พิเศษจากเอกสารธรรมดา

odt - รูปแบบเอกสารที่ผลิตโดยโปรแกรมชุด OpenDocument

sxw - รูปแบบเอกสารที่ผลิตโดยโปรแกรมชุด StarOffice

ไฟล์สำหรับการนำเสนอ ซึ่งอนุญาตให้มีขนาดสูงสุดถึง 10 Mb, 2mb จากเว็บ และ 500 kb จากอีเมล์ ซึ่งได้แก่ไฟล์สกุล ppt และ pps

ไฟล์เอกสารคำนวณ ซึ่งอนุญาตให้มีขนาด 1 Mb - เอกสารสกุล csv รูปแบบเอกสารที่สนับสนุนการแสดงผลแบบตารางภายใต้การใช้รหัสประมวลผลของ ASCII ซึ่งแต่ละคอลัมภ์จะถูกแยกโดยเครื่องหมายจุลภาค ซึ่งสามารถนำผลิตภัณฑ์นี้ไปใช้ในโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ได้มากมาย ซึ่ง Moodle ก็สนับสนุนการทำงานกับไฟล์สกุลนี้ด้วยเช่นกัน

- เอกสาร xls เอกสารตารางคำนวนที่สร้างโดยโปรแกรม Microsoft Excel

- เอกสาร ods เอกสารตารางคำนวนที่สร้างโดยโปรแกรม OpenDocument Spreadsheet

ไฟล์เอกสาร PDF ซึ่งเป็นเอกสารที่เน้นการแสดงผลตรงตามต้นฉบับ ซึ่งสร้างเพื่อการอ่านโดยโปรแกรม Adobe Acrobat อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีโปรแกรมประยุกต์มากมายที่พัฒนาออกมาให้สนับสนุนการเปิดไฟล์สกุลนี้ด้วย

คุณสมบัติ Flexible แม้ระบบจะระบุว่าสามารถทำงานภายใต้รูปแบบ เอกสารที่กำหนด แต่เมื่อลองทำการ upload ไฟล์สกุลที่นอกเหนือจากที่ระุบุ เช่น สกุล jpg ซึ่งเป็นไฟล์ภาพขึ้นไป ระบบก็สามารถนำแสดงผลโดยนำเข้าไปวางในเอกสาร Word Processor ได้อย่างดี อย่างไรก็ตามหากระบบไม่สามารถแสดงผลได้ก็จะแจ้งข้อความการปฏิเสธการนำส่ง ไฟล์

คุณสมบัติด้าน File Management โดยระบบจะมีการแสดงหน้าสารบัญเอกสารที่มีการนำขึ้นระบบโดยเรียงตามลำดับก่อนหลังและมีภาพแสดงสัญลักษณ์ให้ทราบว่า เป็นไฟล์สกุลใดด้วย

คุณสมบัติด้านการ Share จุดเด่นที่น่าสนในของ Google Docs คือ การสนับสนุนการแบ่งปันไฟล์แก่ผู้ใช้งานอืน ๆ ได้โดยสามารถแบ่งระดับกลุ่มผู้ใช้ได้สองแบบ คือ กลุ่มที่ร่วมมือกัน และกลุ่มผู้ชมเท่านั้น ซึ่งกลุ่มร่วมมือจะสามารถทำการปรับแต่งแก้ไขเอกสารนั้น ๆ ได้ ในขณะที่ผู้ชมไม่สามารถทำได้ ซึ่งนับว่าเป็นการจัดระบบความปลอดภัยที่ดีในระดับหนึ่งทีเดียว โดยการอนุญาตนั้น สามารถระบุเงื่อนไขเพิ่มเติมด้วยว่าจะให้เป็นเฉพาะผู้ีร่วมมือที่เชิญมาเท่า นั้น หรือว่า เชิญทุก ๆ คนอีกด้วย

คุณสมบัติจากการใช้คำสั่ง New

นอกการรับฝากไฟล์ในแบบต่าง ๆ แล้ว Google Docs ยังอนุญาตให้ผู้ใช้ผลิตเอกสารขึ้นมาใหม่ภายใต้ระบบ Google Docs เองด้วย โดยรองรับทั้งการสร้างเอกสาร กระดานคำนวน และเอกสารนำเสนอ

คุณสมบัติของ Folderเพื่อ ให้เกิดความสามารุถในการจำแนกหมวดของเอกสารเปรียบเสมือนเครื่องส่วนตัวที่พก พาไปไหนมาไหนด้วย ระบบ Google Docs ก็อนุญาตให้ทำการสร้างแฟ้มเอกสาร (Folder) ซึ่งมีรูปแบบการทำงานที่คล้ายกับ Folder e-mail ซึ่งช่วยให้การค้นหาเอกสารทำได้ง่ายขึ้น

ลูกเล่นพิเศษ สร้างแบบสอบถามโดย Form นอกจากรูปแบบเอกสารตามที่กล่าวมาด้านต้น แล้ว ยังมีเครื่องมือในการสร้างแบบฟอร์มเพื่อการกรอกข้อมูลโดยผู้ใช้หรือผู้ร่วม ใช้ไฟล์ที่ได้รับการเชิญเข้าระบบแล้ว โดยรูปแบบของแบบสอบถามสามารถเลือกรูปแบบได้ดังนี้

1.แบบคำตอบสั้น (Text) ซึ่งผู้ตอบจะพิมพ์ตอบเพียงไม่กี่คำ

2.แบบบรรยายตอบ (Paragraph Text) เพื่อเพิ่มเติมข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงแตกต่างไปรายบุึคคลเป็นการเขียนบรรยายระดับย่อหน้า

3.แบบหลายคำตอบ (Multiple Choices) ซึ่งเป็นอีกวิธีของการประเมินผลที่ยังนิยมใช้ โดยจะมีตัวเลือกให้เลือกใช้สี่ตัวเลือก

4. แบบช่องกลมพร้อมรายการให้เลือก (Checkboxes) เพื่อเลือกสิ่งที่เหมาะสมกับตัวผู้ตอบแบบสอบถาม

5. แบบให้เลือกจากรายชื่อ (Choose from a list) ให้เลือกเพื่อเลือกสิ่งที่เหมาะสมกับตัวผู้ตอบแบบสอบถาม

6. แบบให้เลือกความถี่หรือปริมาณ (Rating Scale) ซึ่งผู้ตอบสามารถเลือกการให้น้ำหนักคะแนนได้ถึงสิบระดับ

ซึ่งผลของการลงคะแนนสามารถเลือกดูได้แบบแผนภูมิเส้นหรือแบบตารางคำนวนได้ ซึ่งสะดวกในการนำไปใช้งานต่อยอดต่อไปได้ทันทีภายใต้โปรแกรมตารางคำนวนของ ระบบเอง

การสร้างเอกสารโดยใช้คำสั่ง From Template

แม้ Google Docs จะมีการออกแบบมาเน้นการใช้งานที่สะดวกในการค้นหา นำทาง เป็นอย่างดีด้วยรูปแบบที่ดูลงตัว แล้ว Google Docs ยังมองไปไกลโดยการ จินตนาการรูปแบบการใช้งานของคุณ โดยกำหนดขอบเขตรูปแบบไว้อย่างมากมาย โดยอนุญาตให้สร้างงานผ่าน เมนู From Template ซึ่งจะมีรูปแบบเอกสารในรูปแบบต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์การใช้งานที่แตกต่างไป ซึ่งผู้ใช้สามารถดึงมาใช้อย่างง่ายดาย และใช้เวลาในการปรับแต่งเอกสารในส่วนของข้อความและภาพประกอบ ช่วยลดขั้นตอนใน การออกแบบจัดวางเอกสารได้เป็นอย่างดี ซึ่งนับว่าเป็นลูกเล่นสำคัญที่นับว่ายอดเยี่ยมมาก ๆ ของ Google Docs ซึ่งในตอนนี้จะเป็นเพียงช่วง Beta กลับมีการพัฒนารูปแบบ Template มารองรับกว่า 400 รูปแบบ ซึ่งนับว่ามีจำนวนที่มากจริง ๆ

ความเห็นส่วนตัว แม้จะเป็นสิ่งที่ค่อนข้างใหม่ และยังอยู่ในการทดสอบการใช้ในระดับ Beta แต่ Google Docs ก็สามารถทำงานและได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ที่หันมาใช้นวัตกรรม เว็บ 2.0 อย่างจริงจังและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เชื่อว่า Google Docs จะเข้ามามีบทบาทต่อกระบวนการสื่อสารไร้พรมแดน(Borderless Communication)และการอยู่ทุกหนทุกแห่งของข้อมูล (Ubiquitous Information) และเป็นอีกองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้สำหรับผู้ที่ใช้อินเตอร์เน็ตในอนาคตอัน ใกล้นี้ ส่วนตัวแล้ว แม้จะยังมีประสบการณ์ที่น้อยมาก ๆ กับ Google Docs และปกติจะมใช้เว็บไซท์และ CMS ในการสอนอยู่แล้ว ผมก็พบว่า ตัว Google Docs เองก็มีสิ่งที่จะสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อการสร้างสื่อการสอนของตนเองโดย ใช้ประโยชน์จาก Template ที่ถูกออกแบบมาอย่างหลากหลายมากมายซึ่งจะช่วยลดเวลาในการพัฒนารูปแบบสื่อการ สอนที่น่าสนใจต่อผู้เรียนอันจะส่งผลต่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพขึ้นอย่าง แน่นอน





วันอังคารที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2552

English Language Activities with Power Point

English Language Activities with Power Point

Microsoft PowerPoint is a proprietary presentation program developed by Microsoft. Microsoft PowerPoint is a very simple software that support creating a presentation material which could provide fast performance in full screen and various additional theme. How can this kind of presentation material becomes my teaching tool? Here I can tell you.

For my teaching, I hardly use Thai language to my learners since I would like to train them to practice listening while we are doing some language activities together. They need not to understand everything I said at the first time. I am happy to repeat or clarify for them as much as I can and as long as they would like to do. I found that using Flash Card (a card with words or numbers or pictures that is flashed to a class by the teacher ) is easy to understand and it could be used as a fun activity in the class as well. Previously, I created some flash card using some color paper and photo, and I laminate them with the laminating film. Yes, it really cost a high budget if I need to create all kinds of my teaching materials that I have designed. Moreover, I found that using Flash card is not visible clearly by the learners who are in the back rolls. Then I began thinking of creating electronic flash cards that could be display full-screen that could be seen easier throughout the class, and I choose the PowerPoint.

Strength

It's easy to add clip arts, images and photos which are available in the internet. Sometime I go out for doing some photo taking since what I got from the internet are not good enough. The pictures added in the PowerPoint could display very fast and help me to conduct some fun activities.

The text could be add variously in terms of font types, font sizes or font colors.

It saves my money since all the created material needs only some spaces in my hard drive.

Weakness

The flash card in the PowerPoint can not be used randomly. It's needed to be used in order so I have to create some more trick to use it to fit my activities.

How to use

I divided my e-Flash Card activities into three main sections.

1. Photos to vocabularies

I add some photo to the flash card individually in a particular scope, theme, or filed of the vocabulary. For example, I add some photos of type writer, photo copier, telephone, fax machine, stationery and others for teaching the vocabulary the tools in the office.

I will show the photo one by one and let my learners to call out it in English for their marks (individually) or their team (if I found that some learners are too weak to work alone). It is like a game to gather some marks to reach the goal that I've set. The winner of the activities will get less assignments than the running up. However, I always make sure that my learners do not feel to serious doing this activity. I will tell them to some simply and easy assignments.

2. Text to convert

I add some text in order to encourage my learners to convert them into the target form. For example,

Example I - I add some numbers beginning with one digit until seven digits to practice them how to read numbers.

Example II - I add some verbs in present form and ask them to convert to be past form or past participle form.

Eample III - I add some expressions needed for telephoning in Thai and let them speaking it out in English.

Example IV - I add some numeric dates and let them tell me the date they have seen in sentences.

There are some more "Text to convert" example that I apply for all my contents. They works great.

3. Photos or text for language use.

I add some photo of something and let them describe what they have seen to their friends and let them guess. It's pretty fun to find out that some easy thing can be imagined variously and humorously.

I add some map and let them tell me how to get to a place using the expression of "Giving Direction"

I add two photo in a card and let them compare the photo using appropriate adjectives.

Problem

As mentioned above in the "Weakness" the slide or e-flash card needed to be used in order (can not be random)

Solution

I need to create some more slide repeatly but different order to create various display and the learners can not remember the order of the card. It is not so difficult since it is only copy and paste. It really takes time but it's worth for cool teaching materials. (There may be other better and easier solution and I hope I could find it soon.)

These activities are what I do in my class as much as I can since I found that my learners love playing games throughout this e-flash cards. Hope this may give you some idea to integrate ICT into your teaching appropriately.


กิจกรรมภาษาอังกฤษโดยการใช้ Power Point

Microsoft PowerPoint เป็นโปรแกรมที่ผลิตและพัฒนาโดย Microsoft ซึ่งเป็นโปรแกรมสำหรับสร้างเครื่องมือสำหรับการนำเสนอแบบง่ายให้ผลการแสดง ที่รวมเร็วใจลักษณะของการแสดงผลเต็มหน้าจอพร้อมด้วยลูกเล่นและรูปแบบที่หลาก หลาย แล้วเครื่องมือในการนำเสนอนี้จะสามารถมาเป็นเครื่องมือในการสอนได้อย่างไร ผมทำแบบนี้ครับ

ในยามที่ผมสอน ผมจะไม่พยายามใช้ภาษาไทยเลยเพราะผมต้องการฝึกผู้เรียนให้ฟังในยามที่เรากำลังทำกิจกรรมทางภาษาด้วยกัน พวกเขาไม่จำเป็นต้องเข้าใจในทุก ๆ สิ่งที่ผมพูดในครั้งแรกที่ได้ยิน และผมก็ยินดีที่จะพูดซ้ำหรือขยายความให้พวกเขาเข้าใจได้เท่าที่จะทำได้หรือเท่าที่พวกเขาอยากจะฟัง ผมพบว่าการใช้ บัตรคำสำหรับการสอน (Flash Card - การ์ดที่มีคำ หรือ ตัวเลข หรือภาพที่ใช้ในห้องเรียน) มันเป็นสิ่งที่ง่ายในการทำความเข้าใจและเป็นกิจกรรมที่สนุกในห้องเรียนได้เป็นอย่างดี ก่อนหน้านี้ ผมสร้างบัตรคำโดยการใช้กระดาษสีกับภาพถ่ายต่าง ๆ แล้วทำการเคลือบด้วยฟิล์มเคลือบกระดาษ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงทีเดียวถ้าผมต้องทำกับทุก ๆ เนื้อหาบทเรียนที่ผมเตรียมไว้เพื่อการสอนทั้งหมด ยิ่งไปกว่านั้น ผมพบว่าการ์ดบัตรคำนี่มองเห็นได้ลำบากสำหรับผู้เรียนที่อยู่แถวหลัง ๆ ผมจึงเริ่มการคิดที่จะทำการสร้างบัตรคำอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้สามารถแสดงผลได้เต็มจอและง่ายในการมองเห็นของผู้เรียนทั้งห้อง ผมจึงเลือก PowerPoint.

ข้อดี

มันเป็นการง่ายมากที่จะเพิ่มภาพต่าง ๆ ที่สามารถหาได้จากอินเตอร์เน็ต แต่บางครั้งก็ต้องออกภาคสนามเพื่อไปถ่ายรูปเองเพื่อให้ได้ภาพที่เหมาะสม ภาพที่บันทึกไว้ใน PowerPoint จะแสดงผลได้รวดเร็วมากและช่วยให้ผมทำกิจกรรมที่สนุกสนานได้

ตัวอักษรสามารถเพิ่มลงไปอย่างหลากหลายได้ ทั้งรูปแบบอักษร ขนาดอักษรและสีของอักษร

ประหยัดเงินเพราะเครื่องมือนี้ต้องการเพียงแค่พื้นที่ของ Hard drive ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น

ข้อเสีย

บัตรคำใน PowerPoint ไม่สามารถเลือกใช้แบบสุ่มได้ มันมีความจำเป็นที่ต้องใช้ตามลำดับก่อนหลังดังนั้นผมจึงต้องสร้างลูกเล่นเพิ่มเติมเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้

ใช้อย่างไร

ผมแบ่งรูปแบบการใช้บัตรคำอิเล็กทรอนิกส์ออกเป็นสามหมวดใหญ่ ๆ

1. ภาพเพื่อนำสู่คำศัพท์

ผมจะเพิ่มภาพลงไปในบัตรคำแต่ละภาพในตามขอบเขต ประเภท และกลุ่มของคำศัพท์ เช่น ผมจะเพิ่มภาพของพิมพ์ดีด เครื่องถ่ายเอกสาร โทรศัพท์ โทรสาร เครื่องเขียนและอื่น ๆ ในหัวข้อของอุปกรณ์สำนักงาน

ผมจะแสดงภาพทีละภาพเพื่อให้ผู้เรียนศัพท์นั้น ๆ เป็นภาษาอังกฤษเพื่อให้ได้คะแนนของตัวเอง (กรณีงานเดี่ยว) หรือ กลุ่มของตน (ถ้าผมพบว่ามีผู้เรียนที่เรียนค่อนข้างอ่อนและอาจจะทำงานตามลำพังไม่ได้) ซึ่งจะคล้าย ๆ กับเกมที่จะเก็บคะแนนเพื่อให้ถึงเส้นชัยที่ผมกำหนด ผู้ชนะก็จะได้รับงานที่มอบหมายน้อยกว่าทีมรองชนะเลิศ อย่างไรก็ตาม ผมจะทำให้เกิดความมั่นใจว่าผู้เรียนไม่ได้รู้สึกเครียดกับการต้องทำงานที่รับมอบหมายนั้นจากการทำกิจกรรมนี้ ซึ่งผมมักจะให้ทำงานที่ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อนอะไร

2. ข้อความเพื่อการแปลง

ผมจะใส่ข้อความเพื่อชักชวนให้ผู้เรียนพยายามแปลงไปสู่รูปแบบที่ผมต้องการ ตัวอย่างเช่น

ตัวอย่างที่ I - ผมใส่ตัวเลขลงไปเริ่มตั้งแต่หนึ่งหลักไปจนถึงเจ็ดหลักเพื่อฝึกการอ่านตัวเลข.

ตัวอย่างที่ II - ผมใส่คำกริยาปัจจุบันกาล ลงไปและให้ผู้เรียนผันไปเป็นช่องอดีตกาล หรือ สมบูรณากาล

ตัวอย่างที่ III - ผมใส่ประโยคที่จำเป็นในการใช้โทรศัพท์เป็นภาษาไทย และให้พวกเขาพูดให้เป็นภาษาอังกฤษ

ตัวอย่างที่ IV - ผมเพิ่มวันที่แบบตัวเลขและให้พวกเขาวันที่นั้นในรูปแบบประโยค

นอกจากนี้ผมยังมีรูปแบบการใช้ ข้อความเพื่อการแปลง อีกมากที่นำไปใช้ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งสามารถทำงานได้เยี่ยมมากครับ

3. ภาพหรืออักษรเพื่อการใช้ภาษา

ผมใช้ภาพของบางสิ่งบางอย่างเพื่อให้พวกเขาบรรยายสิ่งที่เห็นให้เพื่อน ๆ ฟังและให้เดาสิ่งนั้น มันค่อนข้างสนุกที่จะพบว่าสิ่งของง่าย ๆ สามารถถูกจินตนาการไปได้อย่างหลากหลายและน่าขบขัน

ผมเพิ่มแผนที่เพื่อให้พวกเขาบอกวิธีการเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ โดยใช้ความรู้เรื่อง "การบอกเส้นทาง" I

ผมใส่ภาพสองภาพลงไปเพื่อให้พวกเขาบรรยายเปรียบเทียบโดยใช้คำคุณศัพท์ที่เหมาะสม

ปัญหาที่พบ

อย่างที่ผมเคยเกริ่นไว้แล้วใน "ข้อเสีย" แผ่นงานจำเป็นต้องถูกใช้ตามลำดับก่อนหลัง (ไม่สามารถสุ่มเลือกได้)

การแก้ปัญหา

ผมจำเป็นต้องสร้างบัตรคำซ้ำ ๆ เพิ่มขึ้นแต่ในลำดับก่อนหลังที่แตกต่างกันไปเพื่อให้เกิดการแสดงผลที่หลากหลายและผู้เรียนไม่สามารถจดจำลัดับก่อนหลังได้ ซึ่งก็สามารถทำได้โดยไม่ยากนักเพราะเป็นเพียงการคัดลอกและวางเท่านั้น มันอาจจะใช้เวลาสักหน่อยแต่ก็คุ้มค่าสำหรับสื่อการสอนที่ดีตัวหนึ่ง

และนี่ก็เป็นกิจกรรมที่ผมทำในชั้นเรียนเท่าที่ผมจะสามารถทำได้เพราะผมพบว่าผู้เรียนรักการเล่นเกมผ่านการใช้บัตรคำนี้ หวังว่าจะช่วยให้แนวคิดนการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้การสอนของท่านได้อย่างเหมาะสมครับ

วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2552


Ways to integrate Web 2.0 into teaching and learning appropriately



Lecturing Process
We can use "Blog" to transfer the contents to our learners and then they could discuss and expand what they have learned. They can ask for more information and it could be a tool for us to lead the learners to the next lesson systematically and effectively.


Individual Assignment


Text and Photos Assignment
We can assign our learners to use "Blog" which they register for their own accounts and develop their works. We may assist them with some suggestions as a comment. The learners are allowed to use any add on in their blogs to encourage them to create their works.































Audio Assignment

We may use any Podcast service website, (For example = http://www.chokelive.com/), to assign our learners to use their voice recorders such as MP3 player, iPod 0r their mobile phones to record their voice related to the assignment instruction and upload to broadcast. They may add the URL in their own blog again later.


Video Assignment
We can assign our learners to create a Slide Show video or some kinds of movies to present their works, projects or field trips related to the assignment instruction and then upload on to video service site such as You Tube, Google Video or Mthai.



Group Work Assignment
We can use "Wiki" as a tool for our learners to cooperate and collaborate to complete their assignment using the main and additional contents prepared by us. Then add them onto the Wiki system. We may assist them via our Blogs.










Asynchronous Discussion
We may still use "Webboard" with "Login" feature so we can keep tracing our learners and their group works. Moreover, we can support them by adding some more information required to improve their works or avoid some mistakes that may affect their works.











Synchronous Discussion

Text Chat We can add CBOX onto our Blogs and arrange date and time for them to be online to do the discussion. This activity can be done in order to motivate them to work as a team for your assessment. The message in CBOX could be read later.
























Audio Chat
We can use "Yackpack" which is an "Audio Conferencing System" that supports us effectively and stably. It is easy to use because what we need to do is just registering and creating a room or channel for chatting. The learners need only to Login to chat. All the chat session could be recorded and played back later.



Web Conferencing Presentation

We can use "DimDim" which supports us the wen conferencing presentation by allowing a software called "Screen Cast" that will broadcast the presenter's screen to all the client's. It supports various kinds of presenting file formats. There is a whiteboard and allow using websites for presentation as well.้ Web Cam is also allowed for this section. The presenter can speak out to present his or her work in Real time system. There is no need for client to download any file. This free conferencing systerm allows 20 participants a time. (Need paying for more, we may arrange 20 participants per a section)

These could be good ways to integrate Web 2.0 into teaching and learning appropriately. Nevertheless, teacher need to stay alert to facilitate the learners all kind of supports to eliminate any obstructions appropriately and effectively.





แนวทางในการนำ นวัตกรรม Web 2.0 มาใช้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสม




รูบแบบการสอนแบบนำเสนอบรรยาย

สามารถนำ Blog นำเสนอเนื้อหาซึ่งผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนความเห็นได้ซึ่งอาจเป็นการสอบถาม ขยายความ หรือนำไปสู่กระบวนการนำสู่เนื้อหาต่อไปอย่างเป็นระบบได้

รูปแบบกิจกรรมนำเสนอรายบุุคคล (Individual Assignment)


การเสนอในรูปแบบของภาพและข้อความ (Text and Photos Assignment)
สามารถเลือกใช้ Blog ที่ให้ผู้เรียนลงทะเบียนใช้รายบุคคล และพัฒนาเนื้อหาตามคำสั่งงาน โดยอาจารย์เข้ามาแนะนำในรูปแบบของ Comment โดยเปิดกว้างในการให้ผู้เรียนเลือกใช้รูปแบบและ Add on ของ Blog ตามที่ต้องการเพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียนในการทำกิจกรรมนั้น ๆ





























การนำเสนอในรูปแบบของเสียง (Audio Assignment)

สามารถเลือกใช้เว็บไซท์ที่บริการ Podcast (เช่น http://www.chokelive.com/) เพื่อให้ผู้เรียนใช้เครื่องบันทึกเสียงต่าง ๆ เช่น MP3 player, iPod หรือ โทรศัพท์มือถือ บันทึกเสียงการทำงานตามสั่งเพื่อนำเสียงขึ้นระบบเพื่อถ่ายทอด โดยอาจจะนำ URL แสดงใน Blog ของตนอีกครั้ง


การนำเสนอในรูปแบบของภาพยนตร์ (Video Assignment)
สามารถแนะนำผู้เรียนให้จัดทำ Slide Show ที่อยู่ในรูปภาพยนตร์ หรือแม้แต่บันทึกภาพยนตร์นำเสนองาน โครงงานกลุ่ม หรือ ภาพยนตร์ที่ผู้เรียนจัดทำจากการออกทำงานนอกสถานที่นำขึ้นเว็บที่ให้บริการฝากภาพยนตร์ เช่น You Tube, Google Video หรือ Mthai เป็นต้น



รูปแบบการทำกิจกรรมกลุ่ม (Group Work Assignment)

สามารถนำ Wiki มาเป็นเครื่องมือให้ผู้เรียนได้ช่วยเหลือ ร่วมมือในการจัดทำเอกสารจากการศึกษาเอกสารหลักและเอกสารเสริมขึ้นสู่ระบบ Wiki โดยผู้สอนอาจช่วยแนะนำผ่าน Blog














กิจกรรมการอภิปรายกลุ่มแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Discussion)
ยังคงสามารถใช้ Webboad มาใช้โดยเลือกใช้ระบบที่มีการ Login ซึ่งจะช่วยให้ผู้สอนติดต่อความก้าวหน้าของงานกลุ่มได้ โดยสนับสนุนด้านข้อมูลเพิ่มเติมหรือแนะนำในข้อผิดพลาดที่อาจส่งผลกระทบต่องานแก่ผู้เรียนเป็นระยะ













กิจกรรมการอภิปรายกลุ่มแบบประสานเวลา (Synchronous Discussion)

การประสานเวลาแบบอักษร (การพิมพ์ หรือ Text Chat) สามารถนำ CBOX มาใช้ใน Blog และกำหนด
เวลานัดหมายกับผู้เรียน ซึ่งอาจทำโดยวัตถุประสงค์ที่จะเร้าความสนใจในการทำงานเป็นทีมเพื่อการวัดผลซึ่งข้อความในCBOX สามารถย้อนกลับไปอ่านได้ในภายหลัง





การประสานเวลาแบบเสียง (การใช้ไมค์ หรือ Audio Chat) สามารถใช้บริการเว็บ Yackpack ซึ่งเป็นระบบ
Audio Conference ที่สามารถรองรับการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพค่อนข้างสูง สะดวกแก่การใช้งานเพราะผู้สอนทำการลงทะเบียนและสร้างห้องเพื่อการสนทนาและผู้เรียนทำหน้าที่เพียง Login เข้าระบบเท่านั้นและเช่นเดียวกัน ระบบสามารถทำการบันทึกเสียงการสนทนาเพื่อนำกลับมาฟังในภายหลังได้



การนำเสนอแบบประสานเวลา (Web Conferencing Presentation)
สามารถใช้บริการของ DimDim ที่สนับสนุนการประชุมออนไลน์มีระบบ Screen Cast ที่สามารถนำเสนอ
หน้าจอของผู้นำเสนอไปยังหน้าจอของการประชุม ซึ่งสนับสนุนการเปิดไฟล์ต่าง ๆ ของผู้ำนำเสนอ การใช้เครื่องมือกระดานขาว (whiteboard) การเปิดเว็บไซท์ต่าง ๆ ได้ สนับสนุนการเชื่อมต่อกับกล้อง Web Cam และยังคงรองรับการบรรยายเสียงของผู้นำเสนอในระบบ Real Time ได้เป็นอย่างดี โดยผู้เข้าไม่ประชุมไม่จำเป็นต้องDownload ไฟล์ใด ๆ ลงสู่เครื่องเลย โดยบริการฟรีนี้สนับสนุนผู้เข้าประชุมได้ถึง 20 คน (หากต้องการมากกว่านั้นต้องเสียเงินครับ ซึ่งเราอาจแก้ปัญหาโดยการจัดแบ่งกลุ่มเพื่อนำเสนอครั้งละ 20 คน)

และทั้งหมดนี้ น่าจะเป็นแนวทางในการนำ นวัตกรรม Web 2.0 มาใช้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมได้ อย่างไรก็ตาม ผู้สอนต้องมีความพร้อมในการที่จะอำนวยความสะดวกเพื่อลดอุปสรรคที่อาจจะเกิดต่อผู้เรียนได้อย่างทันเวลาและมีประสิทธิภาพเสมอครับ